

หวยพัฒนา
บริษัทรัฐวิสาหกิจหวยพัฒนา หรือ หวยพัฒนา เป็นรัฐวิสาหกิจที่ขึ้นตรงกับรัฐบาลลาวผ่านกระทรวงการเงิน มีหน้าที่ในการออกสลากเพื่อนำรายได้เข้ารัฐบาล และสนับสนุนกิจกรรมต่างๆของรัฐ (ลักษณะของหน่วยงานนี้เทียบเท่ากับสำนักงานสลากกินแบ่งรัฐบาลของรัฐบาลไทย)หวยพัฒนาเกิดขึ้นพร้อมกับการเปลี่ยนแปลงการปกครองเป็นระบอบสังคมนิยมคอมมิวนิสต์ เพื่อเป็นการระดมทุนเข้ารัฐบาล ก่อตั้งในปี พ.ศ. 2525 โดยประธานประเทศลาว ไกสอน พมวิหาน ตามมติสภารัฐมนตรีที่ 347/ปสล. ลงวันที่ 14 ธันวาคม พ.ศ. 2525 ในชื่อ “คณะหวยพัฒนา” ก่อนจะเปลี่ยนมาเป็นชื่อปัจจุบันในปี พ.ศ. 2540 และในปี พ.ศ. 2545 มีการเปิดโอกาสให้เอกชนเข้ามาร่วมจำหน่ายหวยพัฒนาด้วย ปัจจุบัน บริษัทรัฐวิสาหกิจหวยพัฒนา จัดจำหน่ายสลากหลายรูปแบบ เช่น สลากเลข 5 ตัวในวาระสำคัญๆ สลากแบบจดขาย สลากดิจิทัลโดยใช้เครื่องจำหน่ายอัตโนมัติ และสลากแบบ SMS รวมถึงให้บริการรับแทงพนันฟุตบอลแบบถูกกฎหมายอีกด้วย ล่าสุด บริษัทรัฐวิสาหกิจหวยพัฒนาได้ยุติการจำหน่ายสลากแบบจดขายในพื้นที่นครหลวงเวียงจันทน์และปริมณฑล เมื่อวันที่ 31 มีนาคม พ.ศ. 2559 หวยพัฒนาเป็นที่นิยมของนักเสี่ยงโชคทั้งในประเทศลาวและตามภาคตะวันออกเฉียงเหนือของประเทศไทยอีกด้วย
เมื่อวันที่ 19 มีนาคม พ.ศ. 2550 มีการเปิดอาคารสำนักงานใหญ่ของบริษัทรัฐวิสาหกิจหวยพัฒนา เป็นอาคารชั้นเดียว 2 หลัง อาคาร 2 ชั้น 1 หลัง และอาคารชั้นเดียวตามแบบสถาปัตยกรรมลาว 1 หลัง ต่อเชื่อมกับอาคารเดิมที่ทำการบูรณะเพื่อใช้เป็นโรงพิมพ์สลาก ปัจจุบัน หวยพัฒนาออกรางวัลทุกวันจันทร์ และวันพฤหัสบดี เวลา 20:00 น. มีการถ่ายทอดสดผ่านสถานีวิทยุกระจายเสียงแห่งชาติลาว และ สถานีโทรทัศน์แห่งชาติลาว ช่อง 1 (ทชล.1) โดยรูปแบบการออกรางวัลจะคล้ายคลึงกับการออกรางวัลของสลากกินแบ่งรัฐบาลของไทย ผลการออกรางวัลเลข 3 ตัว และ 2 ตัว ของสลากแบบจดขาย สลากดิจิทัลโดยใช้เครื่องจำหน่ายอัตโนมัติ และสลากแบบ SMS จะใช้เลข 3 และ 2 หลักท้ายของผลรางวัลเลข 4 ตัว มาใช้เป็นผลออกรางวัล ห้องว่าการสำนักนายกรัฐมนตรี มีคำสั่งเมื่อวันที่ 17 สิงหาคม 2560 ให้บริษัทรัฐวิสาหกิจหวยพัฒนาลดการออกรางวัลเป็นสัปดาห์ละครั้ง ยกเลิกการให้บริการรับแทงพนันฟุตบอลและสลาก SMS รวมถึงป้องปรามการจำหน่ายหวยผิดกฎหมายอีกด้วย
หวยนามสัตว์3/40
การออกเลขนามสัตว์ จะออกหลังจากเสร็จสิ้นการออกรางวัลใหญ่ ซึ่งมีเลขทั้งหมด40เลข โดยให้ซื้อ3นามสัตว์ โดยสามารถถูกตำแหน่งไหนก็ได้ และเพื่อให้มีกฎหมายที่ใหม่และทันสมัยสำหรับเป็นเงื่อนไขสำคัญให้สยามหลุดพ้นจากความเสียเปรียบในเรื่องสิทธิสภาพนอกอาณาเขตดังกล่าว พระบาทสมเด็จพระปรมินทรมหาจุฬาลงกรณ์ พระจุลจอมเกล้าเจ้าอยู่หัว จึงทรงตัดสินพระราชหฤทัยให้มีการจัดทำประมวลกฎหมายบ้านเมืองดุจชาติตะวันตกทั้งหลาย ดังพระราชปรารภว่า
ในระหว่างตั้งแต่จุลศักราช 1217 ปีเถาะ สัปตศก รัตนโกสินทรศก 74 ประเทศไทยได้ทำหนังสือสัญญาทางพระราชไมตรีกับนานาประเทศ และหนังสือสัญญาทั้งปวงนั้นได้ทำตามแบบหนังสือสัญญาที่ฝรั่งได้ทำกับประเทศทางตะวันออก คือ ประเทศเตอรกี ประเทศจีน และประเทศญี่ปุ่น เป็นต้น มีข้อความอย่างเดียวกันที่ยอมให้กงสุลมีอำนาจตั้งศาลพิจารณาและพิพากษาคดีตามกฎหมายของเขา ในเมื่อคนในบังคับของชาตินั้น ๆ ที่เข้ามาอยู่ในประเทศทางตะวันออกเป็นความกันขึ้นเองหรือเป็นจำเลยของคนในบังคับของบ้านเมือง ลักษณการอย่างนี้ แม้จะมีประโยชน์ที่บรรเทาความรับผิดชอบแห่งเจ้าของประเทศได้อยู่บ้างในสมัยเมื่อแรกทำหนังสือสัญญา เวลายังมีชาวต่างประเทศพึ่งเข้ามาค้าขาย แต่ต่อมาเมื่อการค้าขายคบหากับนานาประเทศเจริญแพร่หลาย มีชาวต่างประเทศมาตั้งประกอบการค้าขายในพระราชอาณาจักรมากขึ้น ความลำบากในเรื่องคดีที่เกี่ยวข้องกับคนในบังคับต่างประเทศก็ยิ่งปรากฏเกิดมีทวีมากขึ้นทุกที เพราะเหตุที่คนทั้งหลายอันประกอบการสมาคมค้าขายอยู่ในประเทศบ้านเมืองอันเดียวกันต้องอยู่ในอำนาจศาลและในอำนาจกฎหมายต่าง ๆ กันตามชาติของบุคคล กระทำให้เป็นความลำบากขัดข้องทั้งในการปกครองบ้านเมืองและกีดกันประโยชน์ของคนทั้งหลายตลอดจนชนชาติต่างประเทศนั้น ๆ เองอยู่เป็นอันมาก ความลำบากด้วยเรื่องอำนาจศาลกงสุลเช่นว่ามานี้ย่อมมีทุกประเทศที่ได้ทำสัญญาโดยแบบอย่างอันเดียวกัน และต่างมีความประสงค์อย่างเดียวกันที่จะหาอุบายเลิกล้างวิธีศาลกงสุลต่างประเทศ ให้คนทั้งหลายไม่ว่าชาติใด ๆ บรรดาอยู่ในประเทศนั้น ๆ ได้รับประโยชน์อยู่ในอำนาจกฎหมายและอำนาจศาลสำหรับบ้านเมืองแต่อย่างเดียวทั่วกัน…”
สมยศ เชื้อไทย รองศาสตราจารย์คณะนิติศาสตร์ มหาวิทยาลัยธรรมศาสตร์ แสดงความคิดเห็นเกี่ยวกับการที่รัฐบาลสยามตัดสินใจจัดทำประมวลกฎหมายบ้านเมืองในครั้งนั้นว่า เป็นการพลิกระบบกฎหมายที่ใช้อยู่ในครั้งนั้นจากหน้ามือเป็นหลังมือทีเดียว เพราะเป็นการเปลี่ยนจากระบบคอมมอนลอว์ที่กฎหมายมาจากบรรทัดฐานที่ศาลกำหนด ไปเป็นระบบซีวิลลอว์ ที่กฎหมายมาจากกระบวนการนิติบัญญัติ โดยกล่าวว่า การตัดสินใจทำประมวลกฎหมายครั้งนี้นับว่ามีความหมายในทางประวัติศาสตร์กฎหมายของไทยเป็นอย่างมาก เพราะเป็นการเปลี่ยนระบบกฎหมายจากการรับกฎหมายอังกฤษเข้ามาใช้ ซึ่งได้ปฏิบัติกันมาเป็นเวลาครึ่งศตวรรษ…มีความหมายว่าประเทศไทยหันเหจากการรับระบบคอมมอนลอว์ของอังกฤษมาใช้ เปลี่ยนไปรับระบบซีวิลลอว์ซึ่งเป็นระบบกฎหมายของภาคพื้นยุโรปที่มีนิติวิธีที่แตกต่างและตรงกันข้ามกับระบบคอมมอนลอว์ การที่ประเทศไทยประกาศใช้ประมวลกฎหมายจึงเป็นการเปลี่ยนแปลงจากระบบกฎหมายหนึ่งไปอีกระบบหนึ่งทีเดียว หลังจากรัฐบาลสยามตัดสินใจจัดทำประมวลกฎหมายบ้านเมืองแล้ว ใน ร.ศ. 127 ซึ่งตรงกับ พ.ศ. 2451 ก็ได้กฎหมายลักษณะอาญาเป็นประมวลกฎหมายฉบับแรกของประเทศและประกาศใช้ในปีนั้นเอง ครั้นแล้ว พระบาทสมเด็จพระปรมินทรมหาจุฬาลงกรณ์ พระจุลจอมเกล้าเจ้าอยู่หัว จึงมีพระราชดำริให้จัดทำประมวลกฎหมายแพ่งและพาณิชย์ต่อไป ดังปรากฏในพระราชปรารภของพระบาทสมเด็จพระปรเมนทรมหาวชิราวุธ พระมงกุฎเกล้าเจ้าอยู่หัว ว่า
“กฎหมายแพ่งและพาณิชย์ที่ใช้อยู่ในเวลานี้ยังกระจัดกระจายอยู่หลายแห่ง สมควรจะนำมารวบรวมไว้แห่งเดียวกันและจัดเข้าเป็นหมวดหมู่ เพื่อให้สมแก่กาลสมัย ความเจริญ และพาณิชยกรรมแห่งบ้านเมือง และความสัมพันธ์กับนานาประเทศ ส่วนหลักกฎหมายแพ่งและพาณิชย์ซึ่งศาลยุติธรรมได้เคยยกขึ้นปรับสัตย์ตัดสินคดีเนือง ๆ มาโดยธรรมเนียมประเพณีอันควรแก่ยุติธรรมนั้น สมควรจะบัญญัติไว้ให้เป็นหลักฐานและกิจการบางอย่างในส่วนแพ่งและพาณิชย์ ซึ่งไม่มีกฎหมายที่ใช้อยู่ในบัดนี้ ก็ควรจะบัญญัติขึ้นไว้ด้วย ทางที่จะให้ถึงซึ่งผลอันนี้ ควรจะประมวลและบัญญัติบทกฎหมายที่กล่าวมาแล้วเข้าเป็นประมวลกฎหมายแพ่งและพาณิชย์ตามแบบอย่างซึ่งประเทศอื่น ๆ ได้ทำมา